สล็อตเว็บตรง , ฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ เว็บตรง ราชทัณฑ์ เผยอาการป่วย เพนกวินติดโควิด ระดับสีเหลือง ปวดหัว มีเสมหะ ค่าออกซิเจนในเลือดปกติ สามารถนอนหลับได้ วันนี้ 18 ส.ค. 2564 นายธวัชชัย ชัยวัฒน์ รองอธิบดีกรมราชทัณฑ์ และโฆษกกรมราชทัณฑ์ เปิดเผยอาการป่วยโควิดของเพนกวิน สิริชัย และ พรหมศร ความว่า
เพนกวิน หรือ พริษฐ์ ชีวารักษ์ ตลอด 3 วันที่ผ่านมา
มีอาการปวดหัว ไอแบบมีเสมหะ ปวดเมื่อยตามตัว แต่สัญญาณชีพจรและO2ในเลือดปกติ หายใจปกติ ยังรู้สึกตัว ช่วยเหลือตัวเองได้ ไม่มีอาการหอบเหนื่อย นอนหลับพักผ่อนและ รับประทนอาหารได้ ช่วยเหลือตัวเองได้ปกติ ประเมินอาการอยู่ในระดับสีเหลือง แต่เนื่องจากมีน้ำหนักตัวเกิน 90 กก. และมีโรคหอบเป็นโรคประจำตัว แพทย์จึงให้ยาฟาวิพิราเวียร์ ตั้งแต่วันที่ 16 ส.ค. 64 ร่วมกับยาพ่นโรคประจำตัว และยารักษาตามอาการ
นายสิริชัย มีอาการปวดศีรษะ ปวดตา ครั่นเนื้อครั่นตา เป็นมา 3 วัน สัญญาณชีพจรและค่าออกซิเจนเป็นปกติ ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ช่วยเหลือตัวเองได้ หายใจปกติ ไม่มีอาการหอบเหนื่อย มีอาการปวดเมื่อยตามตัว สามารถนอนหลับพักผ่อนได้ รับประทานอาหารได้ ประเมินแล้วจัดเป็นผู้ป่วยระดับสีเขียว ให้การรักษาด้วยยาฟาวิพิราเวียร์
นายพรหมศร มีอาการมีอาการไข้ ปวดศีรษะ เจ็บคอ ไอมีเสมหะ การรับกลิ่นลดลง เป็นมา 3 วัน ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ช่วยเหลือตัวเองได้ หายใจปกติ มีไข้ อ่อนเพลีย อาการจมูกไม่ได้กลิ่น ปวดศีรษะ ไอมีเสมหะ สัญญาณชีพจรและค่าออกซิเจนเป็นปกติ ประเมินแล้วจัดอยู่ในระดับสีเขียวให้การรักษาด้วยยาฟาวิพิราเวียร์ โดยทั้ง 3 คน ได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างใกล้ชิด
ผมขอขอบคุณทุกท่านที่เข้าใจ และอดทนทำตามมาตรการของรัฐที่ออกมา ขอบคุณทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขอบคุณบุคลากรทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่ด่านหน้า ที่ร.พ. สนาม ที่จุดคัดกรอง หรือที่ขนส่งผู้ป่วย ขอบคุณจิตอาสา ขอบคุณทุกคนที่เสียสละ เสี่ยงภัยอันตราย ผมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ คนทำงานทุกคน จะหาทุกหนทางในการช่วยเหลือและแก้สถานการณ์ให้เราผ่านวิกฤตนี้ไปให้ได้ เพื่อไปสู่การฟื้นฟูประเทศและเศรษฐกิจหลังโควิดโดยเร็วที่สุด ไม่ว่าอุปสรรคครั้งนี้จะยากเพียงใดก็ตาม
วัคซีนโควิดแบบพ่นจมูก โดยคนไทย จากทีมสวทช. ใกล้ทดลองในมนุษย์ ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา ผู้อำนวยการกลุ่มวิจัยนวัตกรรมสุขภาพสัตว์และการจัดการ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) ได้รายงานความคืบหน้า วัคซีนโควิดแบบพ่นจมูก ฝีมือคนไทย ผ่านเฟซบุ๊ก Anan Jongkaewwattana ว่า
“วัคซีน COVID-19 ที่สร้างขึ้นจากอนุภาคไวรัสไข้หวัดใหญ่( influenza-based ) Lot แรก ระดับ GMP ถูกผลิตขึ้นโดยทีมวิจัยขององค์การเภสัชกรรมแล้ว วัคซีน Lot นี้จะส่งไปทดสอบความปลอดภัยในสัตว์ทดลองที่ ม.นเรศวร ซึ่งเป็นขั้นตอนสำคัญสำหรับขึ้นทะเบียนวัคซีนเพื่อทำการทดสอบในมนุษย์ครับ วัคซีนสูตรนี้เป็นวัคซีนตัวที่สองของทีมสวทช โดยตัวที่จะออกมาทดสอบก่อนจะเป็น Adenovirus-based ซึ่งได้ทำการทดสอบความปลอดภัยในสัตว์ทดลองไปแล้ว…วัคซีนทั้งสองชนิดออกแบบเป็นชนิดพ่นจมูกทั้งคู่…Product of Team Thailand ครับ”
กล่องเสียงบอบช้ำเมื่อหายจาก COVID-19
ผู้ป่วยติดเชื้อ COVID-19 ที่อาการรุนแรงและจำเป็นต้องใส่ท่อช่วยหายใจขณะทำการรักษาเป็นเวลานาน เมื่อหายแล้วอาจส่งผลให้กล่องเสียงได้รับการบาดเจ็บ เกิดการบวม อักเสบ หรือมีแผลได้ เพื่อรักษากล่องเสียงที่บอบช้ำจากการรักษาจึงควรหมั่นสังเกตตนเอง เมื่อมีความผิดปกติเกิดขึ้นแล้วควรรีบพบแพทย์ทันที
แพทย์หญิงจิราวดี จัตุทะศรื แพทย์ด้านหู คอ จมูก ศูนย์หูคอจมูก โรงพยาบาลกรุงเทพ กล่าวว่า ในผู้ป่วยติดเชื้อ COVID-19 ที่มีการอักเสบของปอดอย่างรุนแรง จนส่งผลให้ระบบการหายใจล้มเหลว หายใจได้ยากจนต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ (Ventilator) เพื่อช่วยในการรักษาโดยวิธีการใส่ท่อช่วยหายใจ (Endotracheal Intubation) ทางปากผ่านกล่องเสียงไปยังหลอดลม ท่อนี้จะเป็นตัวนำออกซิเจนจากเครื่องช่วยหายใจส่งไปยังปอด ช่วยให้ปอดทำงานได้ดีขึ้น ซึ่งใช้เวลาในการรักษาที่ค่อนข้างนาน ตัวท่ออาจส่งผลให้เกิดการระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อภายในกล่องเสียงจนเกิดการบวม ช้ำ อักเสบ มีแผล แผลเป็น หรือบวมจนกลายเป็นเนื้องอกได้ ส่งผลให้เกิดภาวะกล่องเสียงทำงานผิดปกติไปจากเดิม
อาการที่สามารถเกิดขึ้นได้จากการใส่ท่อช่วยหายใจ คือ 1.ภาวะกล่องเสียงหดเกร็ง (Laryngospasm) จะเกิดขึ้นเมื่อถอดท่อช่วยหายใจออกแล้ว เป็นการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นในทางเดินหายใจขณะที่กล้ามเนื้อของกล่องเสียงยังหย่อนตัวไม่เต็มที่จึงเกิดการบีบเกร็งของกล้ามเนื้อกล่องเสียงและสายเสียง เช่น ทำให้ออกซิเจนไม่สามารถผ่านเข้าปอดได้ 2.ภาวะกล่องเสียงอักเสบ (Laryngitis) นอกจากการใส่ท่อช่วยหายใจแล้วยังสามารถเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น
เชื้อโรค ไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา วัณโรค
การใช้งานกล่องเสียงมากที่มากเกินไป อาทิ พูดดัง พูดนาน ร้องเพลงผิดวิธี ไอแรง ไอเรื้อรัง ขากเสมหะบ่อย ๆ
มีสิ่งระคายเคืองกล่องเสียง เช่น การหายใจเอามลภาวะในอากาศเข้าไป การสูบบุหรี่ การสำลักอาหาร อาเจียน กรดไหลย้อน
การกระแทกเสียดสีจากภายนอกกล่องเสียง เช่น อุบัติเหตุของแข็งกระแทกลำคอทางด้านหน้า
การกระแทกจากภายในกล่องเสียง ที่เกิดจากการใส่ท่อช่วยหายใจเพื่อดมยาสลบ หรือเพื่อให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วยหนักที่ไม่สามารถหายใจได้เองตามปกติ สล็อตเว็บตรง , ฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ เว็บตรง